วันอังคารที่ 11 ธันวาคม พ.ศ. 2555

ข้อดีและข้อเสียเกี่ยวกับการเล่นเกม

ข้อดีของการเล่นเกมส์ การเล่นเกมส์นั้นจะช่วยให้เด็กๆฝึกในการพัฒนาในทักษะทางความคิดและสมองได้อย่างต่อเนื่องเพราะเกมส์ที่ออกวางจำหน่ายทั่วไปจะสามารถส่งเสริมต่อพัฒนาการกับเด็กในด้านนี้ได้เป็นอย่างดี และรวมถึงยังสร้างความเพลิดเพลินให้กับเด็กได้อีกด้วย ทั้งสนุกสนานและยังได้ฝึกทักษะในด้านการใช้สมอง

ประโยชน์ทางตรง อย่างแรกเลยเด็กๆชอบและยังสามารถสร้างความเพลิดเพลินเวลาเล่นเกมส์ได้เป็นอย่างดีไม่ว่าจะเป็นการเล่นคนเดียวหรือเล่นพร้อมๆกันกับเพื่อนหรือทางผุ้ปกครองจะเข้าไปเล่นพร้อมกันเด็กๆก็ได้ ต่อมาก็คือสามารถเพิ่มทักษะความสามารถในการเรียนรู้ทั้งความคิดและการตัดสินใจให้กับเด็กๆได้ เพราะการเล่นเกมส์จะทำให้เด็กต้องตัดสินใจว่าจะเล่นยังไงและควรจะไปทางไหนต่อ

ประโยชน์ทางอ้อม ทำให้เด็กๆรู้จักแบ่งเวลาเป็นถ้าเราเอาใจใส่กับลูกๆของเรา เราก็ควรฝึกให้เขาแบ่งเวลาในการเล่นเกมส์และการออกกำลังกายควบคู่กับไป

ข้อเสียข้อการเล่นเกมส์ ถ้าหากผู้ปกครองหรือผู้ดูแลนั้นเลือกเกมส์ที่ไม่เหมาะสมต่ออายุของเด็กๆ ที่มีเนื้อหารุนแรงจนเกินไปก็อาจจะส่งผลทำให้เด็กๆของเราติดนิสัยที่ก้าวร้าวได้ เพราะแนั้นเวลาที่เราจะเลือกเกมส์ให้กับเด็กๆเล่นเราควรจะดูว่าเกมส์ดังกล่าวนั้นเหมาะสำหรับเด็กอายุทำไหร่เป็นอีกทางในการประกอบการตัดสินใจ 

ที่มา  http://www.saletoyota.com

เกี่ยวกับ EXcel

ส่วนประกอบของโปรแกรม Microsoft Excel 2007พิมพ์

component-excel-2007
ส่วนประกอบของโปรแกรม Microsoft Excel 2007
เมื่อโปรแกรม Microsoft Excel 2007 ถูกเปิดขึ้นมาแล้ว จะใช้ชื่อไฟล์ว่า สมุดงาน1 เสมอแต่ถ้าเปิดแฟ้มใหม่ต่อไปอีกก็จะใช้ชื่อเป็น สมุดงาน2 สมุดงาน3 ต่อไปเรื่อย ๆโดยมี ส่วนประกอบของ โปรแกรม MicrosoftExcel 2007

หลักการพิมพ์สูตรทางคณิตศาสตร์ในเซลล์ใน Excel 2007
พิมพ์
ในการพิมพ์สูตรสมการทางคณิตศาสตร์แบบบรรทัดเดียวนั้น มีหลักการดังต่อไปนี้
1. เครื่องหมายสถานะของสูตร
ให้พิมพ์เครื่องหมายเท่ากับ (=) หรือคลิกเครื่องหมายเท่ากับบนแถบสูตร จะมีแผ่นกรอกข้อมูลให้มา โดยโปรแกรม Excelจะรู้ทันทีว่ากำลังทำงานอยู่ในสถานะสูตร
excel-2007-12
excel-2007-12-2
การพิมพ์ = ลงไปโดยตรงในเซลล์ และการคลิก = ที่แถบสูตร

2. ตัวเลขและการอ้างอิงเซลล์
เมื่อพิมพ์ = แล้ว ก็เป็นการพิมพ์สมการทางคณิตศาสตร์บรรทัดเดียว ซึ่งจะใช้ตัวเลขหรือเซลล์มาพิมพ์ก็ได้ ถ้าเป็นตัวเลขExcel จะถือว่าเป็นค่าคงที่ แต่ถ้าเป็นเซลล์ จะขึ้นอยู่กับการอ้างอิงเซลล์ โดยการพิมพ์ชื่อเซลล์ลงไปโดยตรง หรือใช้เมาส์คลิกเลือกเซลล์ที่อ้างอิงนั้นก็ได้ เช่น =1/2 หรือ =6*B3 หรือ=A4+B4 เป็นต้น

3. เครื่องหมายการคำนวณและเปรียบเทียบ
เป็นการคำนวณโดยใช้เครื่องหมาย บวก (+) ลบ (-) คูณ (*) หาร (/) เลขยกกำลัง (^) เปอร์เซ็นต์ (%) และใช้เครื่องหมายวงเล็บ () แต่เราไม่สามารถที่จะใส่สัญลักษณ์ทางคณิตศาสตร์ที่ซับ ซ้อน เช่น √ (Square root) ลงในสูตรของ Excel ได้ ดังนั้นจึงต้องมีการนำฟังก์ชันมาช่วยทำงาน ตัวอย่าง √7 จะเขียนเป็น SQRT (7) แทน เป็นต้น ซึ่งการคำนวณจากเครื่องหมายคำนวณนี้ จะมีลำดับงานการคำนวณก่อนหลัง ดังตาราง

ลำดับงาน (ความสำคัญ) การคำนวณสูตรในโปรแกรมMicrosoft Excel
ลำดับที่เครื่องหมายคำอ่าน
1
( )
วงเล็บ
2
%
เปอร์เซ็นต์
3
^
ยกกำลัง
4
* และ /
คูณ และ หาร
5
+ และ -
บวก และ ลบ

เครื่องหมายในการเปรียบเทียบในการคำนวณสูตรของโปรแกรม Microsoft Excel
เครื่องหมายคำอ่านตัวอย่าง
=
เท่ากับ
=A1=250 หรือ =A1>=250
ถ้าค่าเป็นจริงหรือถูก จะได้
ผลลัพธ์ เป็น TRUE
แต่ถ้าค่าเป็นจริงหรือเท็จจะได้
ผลลัพธ์ เป็น FALSE
>
มากกว่า
<
น้อยกว่า
>=
มากกว่าหรือเท่ากับ
<=
น้อยกว่าหรือเท่ากับ
<>
ไม่เท่ากับ
 
 
 
 
 
 

กิจกรรมที่ 4.1 การทำโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์


ชื่อโครงงาน เกมไขปริศนาพาสนุก


 ประเภทของโครงงาน พัฒนาเกม


ชื่อผู้จัดทำโครงงาน (จำนวน คน)


1. นางสาวณัฐฤตา  บุณรุ่ง  ชั้น ม.3/4 เลขที่ 2


2. นางสาวพรนิภา  นามทอง ชั้น ม.3/4 เลขที่ 5


3. นางสาวกัณฐาภรณ์   สุภาศรี ชั้น ม.3/4 เลขที่ 12


4. นางสาวพีรยา  บัวโพธิ์ ชั้น ม.3/4 เลขที่ 25


5. นางสาวศศิธร  หล้ามาชน ชั้น ม.3/4 เลขที่ 51


อาจารย์ที่ปรึกษาโครงงาน นางสุวีรา  สุดาเดช


ระยะเวลาดำเนินการ    1 ธ.ค. 55- 31 ม.ค. 55




แนวคิด ทีมา และความสำคัญ


เนื่องจากทุกวันนี้เด็กไทย ติดเกมเป็นจำนวนมากและเกมที่เล่นนั้นส่วนใหญ่เป็นเกมต่อสู้ซึ่งอาจจะก่อให้เกิดความรุนแรงกับเด็ก เราจึงคิดสร้าง เกม ไขปริศนาพาสนุก ขึ้นมาเพื่อให้ได้ฝึกเกี่ยวกับการนำคำศัพท์ในภาษาอังกฤษมาใช้ประโยชน์


วัตถุประสงค์


-                   เพื่อได้สร้างเกมที่ประโยชน์ให้กับเด็กๆ


-                   เพื่อฝึกใช้โปรแกรม Microsoft Excel


-                   เพื่อฝึกทักษะทางภาษาอังกฤษ




หลักการและทฤษฎี


อยากให้เด็กที่ติดเกมได้หันมาเล่นเกมที่สามารถพัฒนาความรู้ความคิดด้านภาษาอังกฤษและเกมที่สามารถนำมาเป็นสื่อการเรียนการสอนให้กับเด็กๆได้


วิธีดำเนินการ


ประชุมสมาชิกในกลุ่มเพื่อที่จะได้ออกความคิดเห็นในเรื่องของการเลือกเรื่องที่จะทำโครงงาน




ขั้นตอนการปฏิบัติ


1.เลือกเรื่องที่จะทำโครงงาน
2.วางแผนเค้าโครงเรื่องที่จะทำ
3.สืบค้นข้อมูลและนำมาเรียบเรียงเป็นโครงงานตามที่วางแผนไว้
4.ตรวจสอบความเรียบร้อยและความถูกต้อง
5.นำเสนอผลงาน


ผลที่คาดว่าจะได้รับ


-                   จะได้เกมที่สร้างโดยโปรแกรม Microsoft Excel


-                   ได้เกมที่ฝึกพัฒนาการด้านภาษาอังกฤษ


-                   ได้รับความรู้


-                   ได้ความสนุกสนานจากการเล่นเกม

เอกสารอ้างอิง


http://www.krujanjira.com/indexversion.html

วันศุกร์ที่ 9 พฤศจิกายน พ.ศ. 2555

ปกหนังสืออิเล็กนิคส์


ปกหน้า

                                                      
                                                            ปกหลัง



วันศุกร์ที่ 3 สิงหาคม พ.ศ. 2555

วันมาฆบูชา


วันมาฆบูชา


วันมาฆบูชา (บาลีมาฆปูชาอังกฤษMagha Puja) เป็นวันสำคัญของชาวพุทธเถรวาทและวันหยุดราชการในประเทศไทย[1]"มาฆบูชา" ย่อมาจาก "มาฆปูรณมีบูชา" หมายถึงการบูชาในวันเพ็ญกลางเดือนมาฆะ ตามปฏิทินของอินเดีย หรือเดือน 3 ตามปฏิทินจันทรคติของไทย (ตกช่วงเดือนกุมภาพันธ์หรือมีนาคม) ถ้าในปีใดมีเดือนอธิกมาส คือมีเดือน 8 สองหน (ปีอธิกมาส) ก็เลื่อนไปทำในวันเพ็ญเดือน 3 หลัง (วันเพ็ญเดือน 4) [2]
วันมาฆบูชา ได้รับการยกย่องเป็นวันสำคัญทางศานาพุทธเนื่องจากเหตุการณ์สำคัญที่เกิดขึ้นเมื่อ 2,500 กว่าปีก่อน องค์สมเด็จพระสัมมาสัมพุทธเจ้าทรงแสดงโอวาทปาฏิโมกข์ท่ามกลางที่ประชุมมหาสังฆสันนิบาตครั้งใหญ่ในพระพุทธศาสนา โดยมีเหตุการณ์เกิดขึ้นพร้อมกัน 4 ประการ คือ พระสงฆ์สาวกที่มาประชุมพร้อมกันทั้ง 1,250 รูปนั้นได้มาประชุมกันยังวัดเวฬุวันโดยมิได้นัดหมาย, พระสงฆ์ที่มาประชุมทั้งหมดต่างล้วนเป็น "เอหิภิกขุอุปสัมปทา" หรือผู้ได้รับการอุปสมบทจากพระพุทธเจ้าโดยตรง, พระสงฆ์ทั้งหมดที่มาประชุมล้วนเป็นพระอรหันต์ผู้ทรงอภิญญา 6, และวันดังกล่าวตรงกับวันเพ็ญมาฆปุรณมีดิถี ขึ้น 15 ค่ำ เดือน 3 ดังนั้นจึงมีคำเรียกวันนี้อีกคำหนึ่งว่า "วันจาตุรงคสันนิบาต" หรือ วันที่มีการประชุมพร้อมด้วยองค์ 4[3][4]
เดิมนั้นไม่มีการประกอบพิธีมาฆบูชาในประเทศพุทธเถรวาท จนมาในสมัยของพระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว (รัชกาลที่ 4) พระองค์ได้ทรงปรารภถึงเหตุการณ์ครั้งพุทธกาลในวันเพ็ญเดือน 3 ดังกล่าวว่า เป็นวันที่เกิดเหตุการณ์สำคัญยิ่ง ควรมีการประกอบพิธีทางพระพุทธศาสนาเพื่อเป็นที่ตั้งแห่งความศรัทธาเลื่อมใส จึงมีพระมหากรุณาธิคุณโปรดเกล้าฯ ให้จัดการพระราชกุศลมาฆบูชาขึ้น[5] โดยการประกอบพระราชพิธีคงคล้ายกับวันวิสาขบูชา คือมีการบำเพ็ญพระราชกุศลต่าง ๆ มีการพระราชทานจุดเทียนตามประทีปเป็นพุทธบูชาในวัดพระศรีรัตนศาสดาราม และพระอารามหลวงต่าง ๆ เป็นต้น โดยในช่วงแรกพิธีมาฆบูชาคงเป็นการพระราชพิธีภายใน ยังไม่แพร่หลายทั่วไป จนต่อมาความนิยมจัดพิธีมาฆบูชาจึงได้ขยายออกไปทั่วราชอาณาจักร
ปัจจุบันวันมาฆบูชาได้รับการประกาศให้เป็นวันหยุดราชการในประเทศไทย[1] โดยพุทธศาสนิกชนทั้งพระบรมวงศานุวงศ์[6] พระสงฆ์ และประชาชน จะมีการประกอบพิธีต่าง ๆ เช่นการตักบาตร การฟังพระธรรมเทศนา การเวียนเทียน เป็นต้น เพื่อเป็นการบูชารำลึกถึงพระรัตนตรัยและเหตุการณ์สำคัญดังกล่าว ที่ถือได้ว่าเป็นวันที่พระพุทธเจ้าทรงประทานโอวาทปาฏิโมกข์[7] ซึ่งกล่าวถึงหลักคำสอนอันเป็นหัวใจของพระพุทธศาสนา ได้แก่ การไม่ทำความชั่วทั้งปวง การบำเพ็ญความดีให้ถึงพร้อม และการทำจิตของตนให้ผ่องใส เพื่อเป็นหลักปฏิบัติของพุทธศาสนิกชนทั้งมวล
นอกจากนี้ ในปี พ.ศ. 2549 รัฐบาลไทยได้ประกาศให้วันมาฆบูชา ให้เป็น "วันกตัญญูแห่งชาติ" เนื่องจากปัจจุบันสังคมไทยวัยรุ่นสาวมักจะเสียตัวในวันวาเลนไทน์หลายหน่วยงานจึงพยายามรณรงค์ให้วันมาฆบูชาเป็นวันแห่งความรัก (อันบริสุทธิ์) แทน
สำหรับในปี พ.ศ. 2555 นี้ วันมาฆบูชาจะตรงกับ วันพุธที่ 7 มีนาคม ตามปฏิทินสุริยคติ

วันแม่แห่งชาติ


ประวัติ

ในวานเปตรยุคโรมันโบราณมีวันหยุดที่คล้ายกันคือ มาโตรนาเลีย ซึ่งเป็นวันที่ระลึกถึงเทพีจูโน เทพีผู้พิทักษ์ ส่วนในยุโรปมีประวัติเกี่ยวกับวันแม่ที่หลากหลาย ตัวอย่างเช่น วันอาทิตย์แห่งความเป็นแม่ (Mothering Sunday) ซึ่งเป็นวันสำคัญของศาสนาคริสต์ ในสหรัฐอเมริกาได้มีการผลักดันให้มีการฉลองวันแม่ภายหลังสงครามกลางเมืองอเมริกัน โดย จูเลีย วอร์ด ฮาว โดยมีความเชื่อว่าเพศหญิงเป็นส่วนหนึ่งในการช่วยสร้างสังคม วันผู้หญิงนานาชาติได้มีการเฉลิมฉลองครั้งแรกเมื่อ 28 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2452 ในสหรัฐอเมริกา ซึ่งในเวลาใกล้เคียงกัน แอนนา ยาร์วิสได้เริ่มผลักดันให้มีการเฉลิมฉลองวันแม่ในสหรัฐอเมริกา

[แก้]วันแม่ในประเทศต่าง ๆ

ประเทศอื่น ๆ ก็มีการกำหนดวันแม่ไว้เช่นเดียวกัน ตัวอย่างเช่น สหรัฐอเมริกาและญี่ปุ่น ใช้วันอาทิตย์ที่สองของเดือนพฤษภาคม ประเทศรัสเซียใช้วันที่ 28 พฤศจิกายน เป็นต้น ทั้งนี้บางประเทศมีการเฉลิมฉลองในวันสตรีสากล

[แก้]ประเทศญี่ปุ่น

ในญี่ปุ่น ปี 1931 (หรือปีโชวะที่ 6) องค์กร สตรีสูงสุดของญี่ปุ่นได้ตั้ง วันที่ 06 มีนาคม ซึ่งเป็นวันฉลองพระราชสมภพ ของ พระราชินี คาโอรุ มาโคโตะ (Empress Kaoru Makoto) เป็น "วันแม่" ต่อมาในปี 1937 วันที่ 5 พฤษภาคม (หรือปีโชวะที่12 ) และได้เปลี่ยนแปลงอีกครั้งเมื่อ (ได้รับการสนับสนุนโดยคณะกรรมการกลางให้จัดตั้งวันแม่) ขึ้นใหม่ในปี 1949 (หรือปีโชวะที่24 ) โดยมาจัดขึ้นในวันอาทิตย์ที่สองในเดือนพฤษภาคม ตามประเทศสหรัฐอเมริกาและอีกหลายๆประเทศ
ทั้งนี้ วันเด็ก 5 พฤษภาคม เป็นวันหยุดนักขัตฤกษ์ (วันหยุดแห่งชาติตามกฎหมาย) "เพื่อให้เด็กได้มีความสุขกับครอบครัวและ ยังมีวัตถุประสงค์เพื่อขอบคุณแม่ที่ทำให้เราได้เกิดมาอีกด้วย
ในวันแม่ ปกติประเทศญี่ปุ่นจะให้ดอกคาร์เนชั่นแต่เมื่อเร็ว ๆ นี้ ไม่เพียงดอกคาร์เนชั่นเท่านั้น แต่ดอกกุหลาบสีชมพูและดอกเยอบิร่า ก็ให้ได้เช่นกัน

[แก้]ประเทศไทย

ดูบทความหลักที่ วันแม่แห่งชาติ (ประเทศไทย)
ในประเทศไทย เดิมมีการจัดงานวันแม่ โดยสำนักวัฒนธรรมฝ่ายหญิง สภาวัฒนธรรมแห่งชาติ ตรงกับวันที่ 15 เมษายน ของทุกปี ตั้งแต่ พ.ศ. 2493 ตามมติคณะรัฐมนตรี ลงวันที่ 23 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2493 ในคณะรัฐบาลจอมพล ป. พิบูลสงคราม[2] ต่อมาในปี พ.ศ. 2519 ได้เปลี่ยนมาเป็นวันที่ 12 สิงหาคม ตรงกับวันเฉลิมพระชนมพรรษาในสมเด็จพระนางเจ้าสิริกิติ์ พระบรมราชินีนาถ พร้อมกับได้กำหนดให้ดอกมะลิเป็นดอกไม้สัญลักษณ์แทนวันแม่ เนื่องจากเป็นดอกไม้ที่มีสีขาว มีกลิ่นหอมและออกดอกได้ตลอดทั้งปี เปรียบได้กับความรักอันบริสุทธิ์ของแม่ที่มีต่อลูก[3]

[แก้]วันแม่นานาชาติ


ปฏิทินเกรโกเรียน
ทุกวันที่วันที่ประเทศ
วันอาทิตย์ที่สองของเดือนกุมภาพันธ์
8 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2552
14 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2553
Shevat 30
(อาจมีขึ้นในวันที่ 30 มกราคม และ 1 มีนาคม)
วันอาทิตย์ที่สี่ในฤดูถือบวชเล็นท์
22 มีนาคม พ.ศ. 2552
14 มีนาคม พ.ศ. 2553
21 มีนาคม
(ฤดูใบไม้ผลิ วิษุวัต)
Flag of the United Arab Emirates สหรัฐอาหรับเอมิเรตส์
ธงชาติของเยเมน เยเมน (ประเทศFlag of the League of Arab States อาหรับทั้งหมด โดยปกติ)
24 เมษายน +/- 5 วัน BaisakhAmavasya (Mata Tirtha Aunsi)
วันอาทิตย์แรกของเดือนพฤษภาคม
3 พฤษภาคม พ.ศ. 2552
2 พฤษภาคม พ.ศ. 2553
วันอาทิตย์ที่สองของเดือนพฤษภาคม
10 พฤษภาคม พ.ศ. 2552
9 พฤษภาคม พ.ศ. 2553
8 พฤษภาคม พ.ศ. 2554
วันอาทิตย์สุดท้ายของเดือนพฤษภาคม
31 พฤษภาคม พ.ศ. 2552
30 พฤษภาคม พ.ศ. 2553
29 พฤษภาคม พ.ศ. 2554
ธงชาติของฝรั่งเศส ฝรั่งเศส (First Sunday of June ifPentecost occurs on this day)
ธงชาติของฝรั่งเศส French Antilles(First Sunday of June ifPentecost occurs on this day)
ธงชาติของมองโกเลีย Mongolia† (The Mothers and Children's Day.)
Second Sunday of June
14 มิถุนายน พ.ศ. 2552
13 มิถุนายน พ.ศ. 2553
Last Sunday of June
28 มิถุนายน พ.ศ. 2552
27 มิถุนายน พ.ศ. 2553
19 สิงหาคม(Pâthâre Prabhu in Southern India)
Second Monday of October
12 ตุลาคม พ.ศ. 2552
11 ตุลาคม พ.ศ. 7440
Third Sunday of October
18 ตุลาคม พ.ศ. 2552
17 ตุลาคม พ.ศ. 2553
ธงชาติของอาร์เจนตินา อาร์เจนตินา (Día de la Madre)
Last Sunday of November
29 พฤศจิกายน พ.ศ. 2552
28 พฤศจิกายน พ.ศ. 2553
ปฏิทินฮิจญ์เราะหฺ
ทุกวันที่วันที่ประเทศ
14 มิถุนายน พ.ศ. 2552
อาทิตย์ที่สองของเดือนกุมภาพันธ์นอร์เวย์
8 มีนาคมบัลแกเรียแอลเบเนีย
อาทิตย์ที่สี่ในฤดูถือบวชเล็นท์ (มาเทอริง ซันเดย์)สหราชอาณาจักรไอร์แลนด์
21 มีนาคม (วันแรกของฤดูใบไม้ผลิ)จอร์แดนซีเรียเลบานอนอียิปต์
อาทิตย์แรกของเดือนพฤษภาคมโปรตุเกสลิทัวเนียสเปนแอฟริกาใต้ฮังการี
8 พฤษภาคมเกาหลีใต้ (วันผู้ปกครอง)
10 พฤษภาคมกาตาร์ซาอุดีอาระเบีย, ประเทศส่วนใหญ่ในทวีปอเมริกาใต้บาห์เรนปากีสถานมาเลเซียเม็กซิโกสหรัฐอาหรับเอมิเรตส์อินเดียโอมาน
อาทิตย์ที่สองของเดือนพฤษภาคมแคนาดาสาธารณรัฐจีน (ไต้หวัน)สาธารณรัฐประชาชนจีนญี่ปุ่นเดนมาร์กตุรกีนิวซีแลนด์เนเธอร์แลนด์บราซิลเบลเยียมเปรูฟินแลนด์มอลตาเยอรมนี,ลัตเวียสโลวาเกียสิงคโปร์สหรัฐอเมริกาออสเตรเลียออสเตรียอิตาลีเอสโตเนียฮ่องกง
26 พฤษภาคมโปแลนด์
27 พฤษภาคมโบลิเวีย
อาทิตย์ที่สุดท้ายของเดือนพฤษภาคมสาธารณรัฐโดมินิกันสวีเดน
อาทิตย์แรกของเดือนมิถุนายนหรือ อาทิตย์ที่สุดท้ายของเดือนพฤษภาคมฝรั่งเศส
12 สิงหาคมไทย (วันเฉลิมพระชนมพรรษาสมเด็จพระนางเจ้าสิริกิติ์ พระบรมราชินีนาถ)
15 สิงหาคม (วันอัสสัมชัญ)คอสตาริกาแอนท์เวิร์ป (เบลเยียม)
อาทิตย์ที่สองหรือสามของเดือนตุลาคมอาร์เจนตินา (Día de la Madre)
28 พฤศจิกายนรัสเซีย
8 ธันวาคมปานามา
22 ธันวาคมอินโดนีเซีย

[แก้]อ้างอิง

                 http://th.wikipedia.org/wiki